ในวันนั้นผมได้พาลูกไปร้านเครื่องเขียนแห่งหนึ่ง ลูกของผมอยากได้กล่องดินสอ มองหน้าพ่อแล้วบอกว่าอยากได้แบบนี้แบบนี้ ลูกของผมเลือกแบบหรูหรา แต่ผมให้ซื้ อแค่
แบบธรรมดาที่ใช้งานได้เหมือนกัน ลูกทำหน้างอทันที ร้องอยากได้ไม้บรรทัด ก็อยากได้แบบสวยงาม แต่ผมก็ให้เลือกแบบแค่พื้นฐานใช้งานได้เหมือนกันเพียงเท่านั้นลูกก็
ทำหน้าหงิกหน้างอเข้าไปอีก ผมไม่ได้ว่าอะไร ตั้งใจก่อนนอนคืนนี้ จะชี้แนะลูกด้วยการเล่านิทานเปรียบเปรย ให้เข้าใจหลังจากได้เป็นพ่อคนแล้ว ผมตั้งใจจะเลี้ยงลูกไม่ให้
เหมือนแบบที่ชาวเอเชียเขานิยมทำกัน ที่มักไม่ยอมให้ลูกลำบาก ดูแลปกป้องแบบไข่ในหิน ประคบประหงมเกินพอดีหลายปีผ่านไป ผมรู้สึกว่าวิธีการเลี้ยงลูกของผมจะลำบาก
มากขึ้นทุกวัน จนกระทั้งวันหนึ่ง ผมได้อ่ านจดหมายเปิดผนึกฉบับหนึ่งที่โพสต์ลงในบอร์ดของมหาวิทย าลัยนานกิง จดหมายจากผู้ใช้นานว่า “พ่อผู้ขมขื่น”เขียนถึงลูกเขาที่
เป็นนักศึกษาในมหาวิทย าลัยนั้น แต่ไม่ได้เปิดเผยชื่อลูก จดหมายฉบับนี้มีคุณค่ามากในสายตาของผม ถึงลูกรักของพ่อแม้ลูกจะทำให้พ่อทุกข์ใจเกินบรรย ายแต่ลูกก็ยังเป็น
ลูกของพ่ออยู่วันยังค่ำหลังจากที่ลูกสามารถสอบเข้ามหาวิทย าลัยได้แล้ว อาจเป็นเพียงคนเดียวของตระกูลเราในรอบหลายชั่ วอายุคนที่ทำได้สำเร็จ หลังจากนั้นพ่อชักไม่แน่ใจ
ว่าตกลงใครเป็นพ่อ และใครเป็นลูกกันแน่ต่อมลูกหมากของผมลดลง 3 เท่าเมื่อลองทำวิธีรั กษ าวิธีนี้ พ่อช่วยแบกสัมภาระไปส่งลูกถึงหอพัก ช่วยกางมุ้ง ปูที่นอนซื้ อกับข้าวกับปลา
ต้องสอนแม้กระทั่งวิธีบีบย าสี ฟั น ออกจากหลอด ทั้งหลายทั้งปวง ดูเหมือนว่ามันเป็นหน้าที่ที่พ่อสมควรต้องทำให้ ไม่ได้ยินคำว่าขอบคุณสักคำจากลูกตั้งแต่ต้นจนจบ รู้สึก
ด้วยซ้ำว่าเป็นเกียรติอันยิ่งใหญ่ที่พ่อผู้ด้อยความสามารถคนนี้มีโอกาสได้รับใช้ลูกทูนหัว ที่บัดนี้ได้เป็นนักศึกษาผู้ทรงเกียรติไปแล้วปีแรกทั้งปี ที่บ้านได้รับจดหมายจากลูก
สามฉบับ ข้อความรวมกันแล้วอาจย าวกว่าข้อความในโทรเลขหนึ่งฉบับสักหน่อย ข้อความย่นย่อ ลายมือหวัดอ่ านย าก มีแต่คำว่า “เงิน” นี่ตั้งใจเขียนได้ชัดเจนที่สุดพอขึ้นปีที่สอง
จดหมายมาแบบถี่ๆ ล้วนขอเงินเพิ่ม ลีลาการเร่งเร้าให้ส่งเงิน ข้อความที่เรียกร้องความเห็นใจ รับรู้ได้ถึงว่า หากเรียนจบแล้ว ลูกสามารถไปยึดอาชีพเป็นพวกเจ้าหน้าที่เร่งรัดหนี้สิน
ได้เยี่ยมแน่นอนแต่สิ่งที่ทำให้พ่อเ จ็ บ ป วดที่สุดนั้น มาจากการที่ลูกอาจหาญถึงขั้นปลอมแปลงตัวเลขจำนวนเงินที่ต้องจ่ายค่าหน่วยกิตของมหาวิทย าลัย ไม่คิดว่าลูกจะใช้วิธีนี้
มาหลอกลวงเงินทองจากผู้เป็นพ่อแม่ที่ให้กำเนิด เลี้ยงดู รักใคร่ลูกมาตลอด เพียงเพื่ออยากได้เงินเพิ่ม ไปเที่ยวผับเที่ยวบาร์และร้องคาราโอเกะ คิดถึงเรื่องนี้เมื่อไหร่ก็เ จ็ บ ป วด
เมื่อนั้น นอนไม่หลับ จนกลายเป็นโ ร คซึมเศร้า สาเหตุก็มาจากลูก คนที่พ่อเลี้ยงดูด้วยมือจนเติบใหญ่ แต่กลับกลายเป็นคนแปลกหน้าในร่างของนักศึกษาขอภาวนาในใจว่า
นอกจากวิชาความรู้ต่างๆที่ลูกจะเรียนรู้จากสถาบันการศึกษาแล้ว ลูกจะกรุณาพัฒนาจิตใจให้เป็นคนซื่อสัตย์ และกตัญญูรู้คุณด้วยก็จะเป็นเรื่องที่ดีที่สุดหลังจากได้อ่ านจดหมาย
ฉบับนี้แล้ว ผมรู้สึกว่าผมยังต้องเดินหน้าทำตามนโยบาย ในการดูแลลูกตามที่ตั้งใจไว้แต่แรก แม้จะรู้ว่ามันค่อนข้างลำบากในสังคมของเรามีอยู่วันหนึ่ง เพื่อนสมัยเรียนที่ย้ ายไป
ออสเตรเลียกลับมาเยี่ยมบ้าน มีโอกาสได้นั่งคุยกัน เขาเล่าว่า คนออสเตรเลียนอกจากเชื่อถือในพระเจ้าแล้วอีกสิ่งหนึ่งที่พวกเขาเชื่อมั่นก็คือ วิธีการเลี้ยงลูกแบบ “จะรวยแค่ไหน
ก็ต้องเลี้ยงลูกแบบจน”พวกเขาเชื่อว่า เด็กที่เติบโตขึ้นมาภายใต้การดูแลปกป้องมากไปของพ่อแม่ เมื่อโตแล้วจะไม่มีปัญญาที่สามารถยืนอยู่บนลำแข้งตัวเอง และก็จะไม่มีวัน
สำนึกบุญคุณคนอื่น แม้กระทั่งพ่อแม่ตนก็ตามวันถัดมาเรามีโอกาสออกไปทำธุระด้วยกัน เจอฝนระหว่างทางเขาเห็นเด็กน้อยถูกห่อหุ้มด้วยผ้านวมอย่างหนากลมไปหมดทั้งตัว
จนดูคล้าย “ลูกบอลยัดนุ่น” เขาบอกว่า “เด็กควรจะใส่เสื้อผ้าน้อยกว่าผู้ใหญ่หน่อย” เขาเล่าว่าในออสเตรเลียแม้หน้าหนาวก็จะไม่เห็นเด็กที่ถูกห่อแบบ “ลูกบอลยัดนุ่น”
เหมือนที่เห็น หรือในวันแดดจ้า แม้เด็กจะนั่งอยู่ในรถเข็นเด็ก แต่คนเป็นแม่ก็จะทำใจแข็ง ไม่ยอมดึงที่บังแดดออกมากันแดดให้ลูก เด็กที่วิ่งเล่นแล้วหกล้มเอง พ่อแม่ก็จะยืนดูเฉยๆ
ให้ลูกลุกขึ้นมาด้วยตัวเขาเอง ต่างๆนาๆล้วนพย าย ามให้ลูกฝึกช่วยตัวเองและอดทนให้มากที่สุดธรรมเนียมของครอบครัวชาวเอเชียอย่างพวกเรา หลักการที่ยึดติดมานานกับ
นโยบายที่ว่า “จะย ากจนแค่ไหน ก็ไม่ยอมให้ลูกต้องลำบาก”สงสัยจะถึงเวลาต้องทบทวนกันใหม่ได้แล้วการเลี้ยงลูกของสัตว์ทั้งหลายในโลกนี้ ตอนลูกยังเล็กและอ่อนแอ
บางชนิดอมลูกไว้ในปาก บางชนิดซุกลูกไว้ใต้ปีก กลัวลูกๆจะไม่ปลอดภัย แต่พอลูกเริ่มโตได้ที่แล้วพวกเขาจะไล่ลูกออกไปอย่างไร้เยื่อใย ให้ลูกไปเผชิญกับโลกภายนอกเอง
ไปฝึกวิทย ายุทธเอง ไปเผชิญปัญหาและมรสุมทุกรูปแบบ แล้วชีวิตจะไม่เจอทางตัน เห็นหรือยังว่าแม้แต่สัตว์ทั้งหลายก็ยังรู้ถึงหลักการที่ว่า “โอ๋ลูกจนไม่ลืมหูลืมตา ก็คือ
การฆ่ าลูกแบบเลื อ ดเย็น” “จะรวยแค่ไหน ก็ต้องเลี้ยงลูกแบบจน” ด้วยวิธีนี้จะบังคับให้ลูกๆทั้งหลายรู้จักยืนอยู่บนลำแข้งตัวเอง และรู้จักสำนึกและตอบแทนบุญคุณคนเป็นพ่อ
เป็นแม่สิ่งหนึ่งที่ไม่ควรลืม ถึงแม้คุณจะห่วงด้วยวิธีปกป้องหรือโอ๋ลูกขนาดไหนก็ตาม คุณคงไม่มีปัญญาตามไปวุ่นวายหรือดูแลพวกเขาในช่วงครึ่งหลังของชีวิตเขา
เพราะตอนนั้นคงได้เวลาที่คุณจะได้หลับย าวไปแล้ว
ขอขอบคุณ : ขจรศักดิ์