4 อย่าทำข้อคิดดีๆ ที่ท่าน ว.วชิรเมธี ได้กล่าวไว้ ซึ่งอ่ านๆ ดูแล้วก็ไปคล้ายๆ กับตัวละครที่ชื่อ พิไล ในเรื่องกรงกรร ม
ที่มี พฤติ กรร ม ทั้ง 4 อย่างนี้ และ ไม่ยอมปรับปรุงตัวจนชีวิตพังในที่สุด
1. อย่าจ้องจับผิด
พิไลผู้ที่คอยจับผิดคนอื่นตลอดเวลา แสดงว่า หลงตัวเองว่าเป็นคนดีกว่าคนอื่น ไม่เห็นข้อบกพร่องของตนเอง
” กิเล ส ฟูท่วมหัว ยังไม่รู้ตัวเอง “ คนที่ชอบจับผิด จิตใจจะหม่ น ห ม อ ง ไม่มีโอกาสได้คิดดีทำดี
เพราะ มองโลกในแง่ร้ า ย จ้องจับผิดคนอื่นตลอดเวลา
2. อย่ามัวแต่คิดริษย า
“แข่งกันดีไม่ได้ดีสักคน แบ่งกันดีได้ดีทุกคน” พิไลผู้ที่ริษย า เรณูอยู่ตลอดเวลา ถ้าเขาสุข เราจะทุกข์
ฉะนั้น ต้องรู้จักถอดถอนความริษย า ออกจากใจเพราะ ความริษย าเป็น “ไฟสุมใจ” เราอิจฉาใครสักคน
เราก็มีทุกข์ 1 ก้อน หากยิ่งเห็นใครได้ดี ก็ยิ่งอิจฉาริษย าเยอะ ก็เสมือนแบกทุข์ไว้ในใจเยอะขึ้นเรื่อยๆ
3. อย่าเสียเวลากับความหลัง
การย้ำคิดย้ำทำ ปล่อยไม่ลง ปลงไม่เป็น ทุกสิ่งอย่างที่เคยได้มา ที่เคยเป็นของตัวเอง เมื่อวันหนึ่งที่ต้องเสียไป
ก็ทำใจไม่ได้ ทำให้ยึดติดอยู่กับอดีตเหมือนมนุษย์ ที่เดินขึ้นเขาพร้อมแบกก้อนหินต่างๆที่พบเจอระหว่างทางขึ้นไปด้วย
ยิ่งแบกขึ้นไปมากก็ยิ่งหนักมาก ยิ่งปล่อยวางไม่เป็น คิดแต่ว่าอะไรก็เป็นของๆ เราก็ยิ่งทุกข์
4. อย่าพังเพราะโลภ
ความโลภ คือ ความอย ากที่ เกินพอดี เหมือนทะเล ไม่เคยอิ่มด้วยน้ำ ธรรมชาติของความดลภ คือ ” ยิ่งเติมยิ่งไม่เต็ม ”
ทุกอย่างต้องดูคุณค่าที่แท้ ไม่ใช่ คุณค่าเทียมเช่น คุณค่าที่แท้ของนาฬิกาคืออะไร คือ ไว้ดูเวลา ไม่ใช่มีไว้
ใส่เพื่อความโก้หรู คุณค่าที่แท้ของโทรศัพท์มือถือ คืออะไร คือไว้สื่อส าร แต่องค์ประกอบอื่นๆ ที่เสริมมาไม่ใช่
คุณค่าที่แท้ของโทรศัพท์ เราต้องถามตัวเองว่าเกิดมาทำไม “คุณค่าที่แท้จริงของการเกิดมาเป็นมนุษย์อยู่ตรงไหน”
ตามหาแก่น ของชีวิตให้เจอ คำว่า “พอดี” คือถ้า “พอ” แล้วจะ “ดี” รู้จักพอจะมีชีวิตอย่างมีความสุข
ขอบคุณที่มา socialsiam